ก๊าซหุงต้ม  (LPG)

    มนุษย์รู้จักก๊าซธรรมชาติมาเป็นเวลาช้านาน นับได้เกือบ สามพันปี ประเทศจีนเป็นชาติเเรกที่ขุดก๊าซจากใต้ดิน ลึกหกร้อยเมตร บางหลุมเเค่ เก้าเมตร ซึ่งต่อมาได้พัฒนาการใช้ก๊าซธรรมชาติมากขึ้น

     ในก๊าซธรรมชาติ นั้นมีองค์ประกอบของก๊าซอื่นๆคือ

 มีเทน ซึ่งเป็นองค์ประกอบส่วนใหญ่ประมาณ หกสิบห้า ประเซ็น

 อีเทน เป็นองค์ประกอบที่มีประมาณสิบ ประเซ็น

 โปรเพน

  บิวเทน

  โซลีน

      ก๊าซปิโตเลียมเหลว  คืออะไร

ก๊าซหรือเเก๊ส เป็นเชื้อเพลิงชนิดหนึ่ง ซึ่งพวกเรรู้จักกันเป็นอย่างดี ในการหุ้งต้มอาหารเเละเป็นเชื้อเพลิงสำหรับรถยนต์ โดยมิชื่อเรียกทางเทคนิคว่า ก๊าซปิโตเลียมเหลว(LIQUEFIED PETROLEUN GAS) เพราะว่าซื้อขายกันในสถานะภาพเป็นของเหลว

(LIQUID)

    องค์ประกอบของก๊าซ

ก๊าซเป็นสารองค์ประกอบ ไฮโดดคาร์บอน คือไฮโดรเจน บวก คาร์บอน โดยเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ได้มาจากกระบวนการกลั่นนำมันดิบเเยกก๊าซธรรมชาติโดนตรง

      การใช้ก๊าซอย่างถูกวิธีเเปลอดภัยเราจำเป็นต้องเข้าใจ ถึง คุณสมบัติต่างๆ ขอก๊าซ   เป็นสำคํญคือ

   1. L.P.G.  ไม่มีสี เราจะทราบได้อย่างไรเมื่อก๊าซรั่ว ที่สามารถมองเห็นเป็นระอองขาวๆนั้น  คือไอนำในอากาศที่กลั่นตัว เนื่องจากได้รับความเย็นจัดจากการระเหยของก๊าซ

   2. L.P.G.  ไม่มีกลิ่นโดยธรรมชาตินั้นไม่มีกลิ่น เพื่อเป็นการเตือนเมื่อก๊าซรั่ว จึ่งมีการเติม สารเอทินเมอร์เเคบเทน เพื่อให้เกิดกลิ่นฉุ่น จึงทราบเเละรู้ด้วยกลิ่นเมื่อก๊าซรั่ว

   3. L.P.G.  ไม่มีพิษ  เเต่ถ้าเราหายใจสูดเข้าไปมากๆ อาจเกิดอาการวิงเวียนศรีษะ เป็นลมได้  เพราะร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ

   4. L.P.G.  หนักกว่าอากาศเป็น2เท่า เมื่อมีสภาพเป็นไอก๊าซจะหนักกว่าอากาศเมื่อก๊าซรั่วจะไหลรวมตัวในที่ตำ ดังนั้น การตั้งถังก๊าซ จึงไม่ควรตั้งตำกว่าพื้นทั่วไป เช่น ในห้องใต้ดิน หลุมบ่อรางระบายนำ

  เป็นต้น

         ความรู้เบื้องต้นเรื่องอัคคีภัย

    ขั้นตอนการผจญเพลิง

    เทคนิคการค้นหาผู้ประสบภัย

    ระบบกู้ชีพ  (cpr)

    เทคนิคการใช้เชือกเเละเงื่อน ชั้นสูงระดับมืออาชีพ

    เเผนการป้องกันอัคคีภัย

    พรบ สงเคราะห์ผู้ประสบภัย

     ข้อปฎิบัติสำหรับพนักงานวิทยุสื่อสาร ศูนย์วิทยุสื่อสารของศูนย์มหานคร

กำหนดการฝึกทีมปฎิบัติการประจำปี

     องค์ประกอบของไฟ

 1เชื้อเพลิง 2ความร้อน 3อากาศ

 จุดวาบไฟ คือจุดที่เกิดการลุกไหม้เป็ไฟของสารเชื้อเพลิง ณจุดอุณภูมิตำ่สุดที่ทำให้สารเชื้อเพลิงนั้คายไอเเละเกิดการลุกไหม้เป็นไฟขึ้วาบหนึ่งเเล้วดับลงเนื่องจากอุณภูมิของความร้อนมีไม่เพียงพอ

จุดติดไฟ คือจุดที่เกิดการลุกไหม้เป็นไฟของสารเชื้อเพลิง ณจุดอุณภูมิที่ตำที่สุดเเต่พอที่จะทำให้สารเชื้อเพลิงนั้นคายไอเชื้อเพลิงนั้นออกมามากจนเพียงพอจนเกิดการลุกไหม้ได้อย่างต่อเนื่อง

                       วิธีการดับไฟ

1การจำกัดเชื้อเพลิง 2อับอากาศ 3ทำให้เย็นลง

   การเเบ่งประเภทของไฟ a เป็นไฟที่เกิดจากสารเชื้อเพลิงทั่วไปเช่น ไม้กระดาษ เสื้อผ้า หญ้า ฟาง ยาง พลาสติก อื่นอื่น

  ประเภทไฟ b เป็นไฟที่เกิดจากเชื้อเพลิงประเภทของเหลว ติดไฟเเละไขข้นต่างๆ เช่น นำ้มัน พาราฟีน กลีเซอลีน อื่นๆ

  ประเภทไฟ c  เป็นไฟไหม้จากอุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีกระเเสไฟฟ้าไหลอยู่ เช่นมอเตอร์ไฟฟ้า เเผงสวิทซ์ต่างๆ

   ไฟประเภท  d เป็นไฟที่เกิดจากสารเชื้อเพลิงประเภทโลหะ ติดไฟเช่นโลหะเเมกนีเซี่ยม เป็นต้น

            ชนิดของถังดับเพลิงสำหรับดับไฟข้างต้น

 นำ้ โฟม ผงเคมีเเห้ง ก็าซคาร์บอนไดออ๊อกไซด์

ชนิดนำ้ยาเหลวระเหย 1211 1310

นำ้ยาชนิดใหม่ไม่ทำลายสภาพเเวดล้อม

    ชนิดโฟม

เป็นตัวดับไฟได้ดีเช่นเดี๋ยวกับนำ้ เหมาะสำหรับดับเพลิงไหม้นำ้มัน

นำ้ยาฟองโฟมเบามากจึงลอยปกคลุมคล้ายเเผ่นฟิล์มเเผ่ขยายตัวได้เร็ว

คลุมทับผิวหน้าของนำ้มัน ทำให้อับอากาศไฟจะดับลงทันที

เเต่ถ้าคนหมดสติอยู่ ในที่เกิดเหตุจะทำให้ไม่มีอากาศหายใจ

ราคาเเพง

เหมาะสำหรับดับไฟประเภท  a  b

                    ถังดับเพลิง


 

 

 

                          

 

 

     
Online: 1  
Visits: 10,758  
Today: 3  
PageView/Month: 1  
Last Update: 30/10/2554     

Advertising Zone    Close

ด้วยความปราถนาดีจาก "สยามทูเว็บดอทคอม" และเพื่อป้องกันการเปิดเว็บไซต์เพื่อหลอกลวงขายของ โปรดตรวจสอบร้านค้าให้แน่ใจก่อนตัดสินใจซื้อของทุกครั้งนะคะ    อ่านเพิ่มเติม ...